คุณรู้หรือไม่? การเลือกซื้อtimer control วงจรตั้งเวลาแต่ละชนิดนั้นมีทั้ง timer control วงจรตั้งเวลา นอกจากจะพิจารณาเรื่องของการใช้งานไม่ว่าจะเป็น งบประมาณ คุณภาพ ความทนทาน ชื่อเสียงของแต่ละรุ่นแล้ว ยังควรพิจารณาในเรื่องของพื้นที่ในการจัดวางและพื้นที่ใช้สอยในtimer control วงจรตั้งเวลาอีกด้วย โดยวันนี้เราได้จัดอันดับ timer control วงจรตั้งเวลาแบบที่มีคุณภาพดีมีประสิทธิภาพมาให้คุณได้เลือกกันแล้ว ดังนี้
2. วงจรตั้งเวลา วงจรหน่วงเวลา นับเวลา หน่วงเวลาเปิด หน่วงเวลาปิด รีเลย์ ควบคุมเตาอบ เตาอบฆ่าเชื้อ 12V Digital Cycle Timer
วงจรตั้งเวลา วงจรหน่วงเวลา หน่วงเวลาเปิด หน่วงเวลาปิด รีเลย์ ควบคุมไฟ ควบคุมเตาอบ เตาอบฆ่าเชื้อ DC 12V Digital Time Relay Dual LED Display Cycle Timer Relay Control Switch Time Delay Relay Timing Relay Time Delay Switch วงจรตั้งเวลา ใช้สําหรับไฟ 12V มีเอ้าพุตเป็นรีเลย์ สามารถใช้งานได้หลายโหมด ไม่ว่าจะเปิดทันที จากนั้นหน่วงเวลาปิด หน่วงเวลาก่อนเปิดแล้วหน่วงเวลาก่อนปิด วนซ้ําได้
Specifications: ช่วงระยะเวลาที่สามารถตั้งค่าได้ (Timing
range) : 0-999s,0-999m,0-999h ระดับไฟเลี้ยงขาเข้า/ขาออก(Power supply
voltage) : DC 12V หน้าจอแสดงผล (LED
Display) : Red Blue Dual Display ขนาด
(Size) : 79 x 26 x 43mm ระยะรูเจาะ (Hole
size) : 72 x 40mm
วิธีการใช้งาน: *เวลาในระยะจะแบ่งเป็น 2 ค่า คือ T1 และ T2 จะถูกนํามาใช้งานแตกต่างกันตามโหมดที่เลือกใช้งาน **ข้อมูลที่ตั้งค่าไว้จะถูกบันทึกอัตโนมัติเมื่อรอจนผ่านไป 6 วินาที 1.กดปุ่ม SET จํานวน 1 ครั้งเพื่อเข้าสู่การตั้งค่า สังเกตไฟ LED สีแดงจะกระพริบ จากนั้นสามารถเพิ่มหรือลดเวลา T1 ได้ตามต้องการ 2.หลังจากตั้งค่า T1 เสร็จแล้ว กดปุ่ม SET จํานวน 1 ครั้ง สังเกตไฟ LED สีเขียวจะกระพริบ จากนั้นสามารถเพิ่มหรือลดเวลา T2 ได้ตามต้องการ 3.หลังจากตั้งค่า T2 เสร็จแล้ว กดปุ่ม SET จํานวน 1 ครั้ง เพื่อบันทึกข้อมูลทันที หรือรอ 6 วินาทีเพื่อบันทึกอัตโนมัติ 4.สามารถเลือกโหมดใช้งาน และหน่วยเวลา(วินาที,นาที,ชั่วโมง)ได้โดยการกดปุ่ม SET ค้างไว้ จากนั้นสลับการตั้งค่าระหว่าง โหมด(P1)/หน่วยเวลา(P0) ได้โดยการกดปุ่ม SET จํานวน 1 ครั้ง โดยมีรายละเอียด การตั้งค่า ดังนี้
P0-0 : หน่วยเวลาเป็นวินาที (second)
P0-1 : หน่วยเวลาเป็นนาที (minutes)
P0-2 : หน่วยเวลาเป็นชั่วโมง (hour)
P1-0 : หน่วงเวลาด้วยค่า T1 จากนั้นเปิดไฟขาออก
P1-1 : เปิดไฟขาออกทันที จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T1 แล้วจึงปิดไฟขาออก
P1-2 : หน่วงเวลาด้วยค่า T1 จากนั้นเปิดไฟขาออก จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T2 แล้วจึงปิดไฟขาออก
P1-3 : เปิดไฟขาออกทันที จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T1 แล้วจึงปิดไฟขาออก จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T2 แล้วจึงเปิดไฟขาออกอีกครั้ง
P1-4 : หน่วงเวลาด้วยค่า T1 จากนั้นเปิดไฟขาออก จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T2 แล้วจึงปิดไฟขาออก จากนั้นวนซ้ําเดิม
P1-5 : เปิดไฟขาออกทันที จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T1 แล้วจึงปิดไฟขาออก จากนั้นหน่วงเวลาด้วยค่า T2 แล้วจึงเปิดไฟขาออกอีกครั้ง จากนั้นวนซ้ําเดิม
3. Timer Switch 20A เครื่องตั้งเวลา เปิด-ปิด อุปกรณ์ไฟฟ้า อัตโนมัติ
• ทนกระแสไฟได้ 15 A • ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ตวอร์ท • ตั้งเวลาในรอบ 24 ชม ใช้ภายในอาคาร • กินไฟ 1.5W ใช้ไฟบ้าน 220V มีแบตเตอรี่ในตัว สํารองไฟได้ 300 ชม • ระยะห่างเวลาเปิดหรือปิดขั้นต่ําที่ 15 นาที • สามารถนํามาต่อผ่านแมกเนติก เพื่อให้สามารถทนกระแสได้สูงขึ้น สําหรับงานไฟถนน ปั้มน้ํา
4. Original Kkmol วงจรตั้งเวลา วงจรหน่วงเวลา นับเวลา หน่วงเวลาเปิด หน่วงเวลาปิด รีเลย์ ควบคุมไฟ Diymore Ac 110V 220V Dc12V 24V
5. Timer Switch 12VDC - 220VAC รุ่น CN101A ตั้งเวลาเปิดปิดได้ วันจันทร์ ถึง วันอาทิตย์ และตั้งเปิดปิดได้ 16 ครั้งในหนึ่งวัน
- Timer Switch มีให้เลือก 12VDC และ 220VAC - จุดเข้าสายเป็นแบบหางปลาเสียบ - สามารถตั้งเวลาเปิดปิดได้ทุกวัน ตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันอาทิตย์ และตั้งให้เปิดปิดได้ 16 ครั้งในหนึ่งวัน - 12VDC หน้าสัมผัสสวิตช์ทนกระแสได้สูงสุด 16A - 24VDC หน้าสัมผัสสวิตช์ทนกระแสได้สูงสุด 16A - 220VAC หน้าสัมผัสสวิตช์ทนกระแสได้สูงสุด 10A - มีแบตเตอรี่แบคอัพ ไม่ต้องตั้งค่าใหม่เมื่อไฟดับ - แบตเตอรี่แบคอัพเป็นแบบ ลิเธียม สามารถชาร์จเองได้เมื่อมีไฟจ่าย - ขนาด กว้างxยาวxหนา = 60x60x33 mm - ขณะสแตนบายรอคําสั่งกินไฟน้อยมาก เช่น รุ่น 12VDC กินไฟประมาณ 5-10 mA การตั้งเวลาของนาฬิกา 1 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อเข้าโหมดการตั้งค่า 2 กด D เพื่อเลือกวันที่ต้องการ 3 กด H เพื่อเลือกชั่วโมงที่ต้องการ 4 กด M เพื่อเลือกนาทีที่ต้องการ 5 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อออกจากโหมดการตั้งค่า หรือ ปล่อยทิ้งไว้ 15 วินาที ระบบจะออกจากโหมดการตั้งค่าเอง การตั้งเวลา On/Off 1 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อเข้าโหมดการตั้งค่า 2 กด P เพื่อเข้าโหมดการตั้งเวลา On 3 กด D เพื่อเลือกวันที่ต้องการ สามารถเลือกทีเดียว 7 วันได้ 4 กด H เพื่อเลือกชั่วโมงที่ต้องการ 5 กด M เพื่อเลือกนาทีที่ต้องการ 6 กด P เพื่อเข้าโหมดการตั้งเวลา Off 7 กด D เพื่อเลือกวันที่ต้องการ สามารถเลือกทีเดียว 7 วันได้ 8 กด H เพื่อเลือกชั่วโมงที่ต้องการ 9 กด M เพื่อเลือกนาทีที่ต้องการ 10 ทําซ้ําจากข้อ 2 ถึง 9 เพื่อเลือกการตั้งเวลา On/Off ของ Set2 ถึง Set16 1 1 ถ้าหากตั้งเวลาเสร็จแล้วให้กดรูปนาฬิกา 1 2 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อออกจากโหมดการตั้งค่า หรือ ปล่อยทิ้งไว้ 15 วินาที ระบบจะออกจากโหมดการตั้งค่าเอง การลบค่าทั้งหมดเพื่อตั้งค่าใหม่ 1 ให้ใช้วัสดุปลายแหลมแต่ไม่คม ไปกดที่ปุ่ม c เพื่อ reset ค่าทุกค่าแล้วตั้งค่าใหม่ 2 กด D เพื่อเลือกวันที่ต้องการ เพื่อตั้งเวลาใหม่ 3 กด H เพื่อเลือกชั่วโมงที่ต้องการ เพื่อตั้งเวลาใหม่ 4 กด M เพื่อเลือกนาทีที่ต้องการ เพื่อตั้งเวลาใหม่ 5 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อออกจากโหมดการตั้งค่า หรือ ปล่อยทิ้งไว้ 15 วินาที ระบบจะออกจากโหมดการตั้งค่าเอง การสั่งให้ Switch On หรือ Off ทันทีแบบไม่ต้องรอเวลา หรือ แบบ Manual 1 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อเข้าโหมดการตั้งค่า 2 กดปุ่ม Manual เพื่อสั่ง On หรือ Off ได้เลย โดยหน้าจอจะแสดงค่า On, Off, Auto สลับกันไปมาจากการกดปุ่ม Manual แต่ละครั้ง 3 ถ้าต้องการออกจากการสั่งแบบ Manual ต้องกดปุ่ม Manual ให้หน้าจอแสดงค่าเป็น Auto เสมอ 4 กด C/R 4 ครั้ง เพื่อออกจากโหมดการตั้งค่า หรือ ปล่อยทิ้งไว้ 15 วินาที ระบบจะออกจากโหมดการตั้งค่าเอง
6. โมดูลตั้งเวลาหน่วงเวลา ปิดเปิดไฟผ่านรีเลย์ ใช้ไฟ 6-30VDC Relay timer switch module (รุ่นใหม่ตั้งได้หลายโหมด ใช้ไฟจาก USB ได้)
โมดูลตั้งเวลาหน่วงเวลา ปิดเปิดไฟผ่านรีเลย์ ใช้ไฟ 6-30VDC Relay timer switch module (รุ่นใหม่ตั้งได้หลายโหมด ใช้ไฟจาก USB ได้)